วันเสาร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2554


                        
                     พระมงคลมิ่งเมือง           แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน้ำ
          งามล้ำถ้ำศักดิ์สิทธิ์        เทพนิมิตพระเหลา
           เกาะแก่งเขาแสนสวย       เลอค่าด้วยผ้าไหม
                      ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม



สัญลักษณ์ประจำจังหวัด

  • สัญลักษณ์ประจำจังหวัดคือ รูปพระมงคลมิ่งเมืองซึ่งให้ความคุ้มครองชาวเมือง

  • ดอกไม้ประจำจังหวัด: ดอกจานเหลือง (Butea monosperma)

  • ต้นไม้ประจำจังหวัด: ตะเคียนหิน (Hopea ferrea)

  • คำขวัญประจำจังหวัด: พระมงคลมิ่งเมือง แหล่งรุ่งเรืองเจ็ดลุ่มน้ำ งามล้ำถ้ำศักดิ์สิทธิ์ เทพนิมิตพระเหลา เกาะแก่งเขาแสนสวย เลอค่าด้วยผ้าไหม ราษฎร์เลื่อมใสใฝ่ธรรม


  •  อาณาเขตติดต่อ

  • ทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดยโสธรและจังหวัดมุกดาหาร

  • ทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (โดยมีแม่น้ำโขงไหลคั่น) และ    จังหวัดอุบลราชธานี

  • ทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดอุบลราชธานี

  • ทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดยโสธร



  •  พระมงคลมิ่งเมือง ประดิษฐานอยู่ที่เขาดานพระบาท อำเภอเมืองอำนาจเจริญ จังหวัดอำนาจเจริญ สร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2508 เป็นพระพุทธรูปคอนกรีตเสริมเหล็ก ประดับกระเบื้องโมเสกสีทองทั้งองค์ มีขนาดหน้าตักกว้าง 11 เมตร มีความสูง 20 เมตร สร้างขึ้นโดยความร่วมมือของประชาชน และส่วนราชการในจังหวัดอุบลราชธานี (เดิมจังหวัดอำนาจเจริญ เป็นอำเภอหนึ่งของจังหวัดอุบลราชธานี)
    บริเวณเขาดานพระบาท มีหลักฐานว่าเป็นพื้นที่ศาสนสถาน มากว่า 2,000 ปี เนื่องจากมีการขุดพบพระพุทธรูปหินทรายสีแดง 2 องค์ เป็นศิลปะทวาราวดี ซึ่งปัจจุบันประดิษฐานอยู่ด้านหลังพระมงคลมิ่งเมือง โดยพระพุทธรูป 2 องค์ดังกล่าว มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "พระขี้ร้าย" หรือ "พระละฮาย" ซึ่งแปลว่า ไม่สวย ไม่งาม ตามพุทธลักษณะ


          วัดถ้ำแสงเพชร หรือวัดศาลาพันห้อง
        ตั้งอยู่บนถนนสายอำนาจเจริญ-เขมราฐ ห่างจากตัวเมืองประมาณ 18 กม. แล้วเลี้ยวซ้าย เข้าไปอีกประมาณ 2 กม. เป็นวัดที่มีบริเวณกว้างขวาง ประกอบด้วย วิหารอยู่บนยอดเขาสูง ทางด้านทิศเหนือของวิหารมีถ้ำขนาดใหญ่ประดิษฐานพระพุทธรูปซึ่งมีลักษณะงดงาม ทั่วบริเวณเต็มไปด้วยโขดหินซึ่งสะท้อนแสงเป็นประกายอันเป็นที่มาของชื่อถ้ำ เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมสายพระอาจารย์ สุภัทโท มีพระภิกษุนานาชาติมาปฎิบัติธรรมอยู่เป็นประจำ 
    เทพนิม    ต    ร,
    อำนาจเจริญ


    วัดพระเหลาเทพนิมิตร
          วัดพระเหลาเทพนิมิตร


    ระมาณ ๒ กิโลเมตร พระอุโบสถของวัดมีรูปทรงสถาปัตยกรรมแบบล้านนา มีพระประธานคือ “พระเหลาเทพ-นิมิตร” เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประดิวัดไชยาติการาม
    ตั้งอยู่ที่บ้านโพนเมือง ตำบลไม้กลอน วัดนี้มีพระพุทธรูปสำริด ประทับขัดสมาธิราบปางมารวิชัย สูง ๕๕ เซนติเมตร จัดอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ เปรียตั้งอยู่ที่บ้านโพนเมือง ตำบลไม้กลอน วัดนี้มีพระพุทธรูปสำริด ประทับขัดสมาธิราบปางมารวิชัย สูง ๕๕ เซนติเมตร จัดอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ เปรียบเทียบได้กับพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่ระเบียงหอพระแก้วเมืองเวียงจันทน์ และพระพุทธรูปที่วัดวิชุล เมืองหลวงพระบาง ซึ่งมีอายุอยู่ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๓
    ตั้งอยู่ที่บ้านโพนเมือง ตำบลไม้กลอน วัดนี้มีพระพุทธรูปสำริด ประทับขัดสมาธิราบปางมารวิชัย สูง ๕๕ เซนติเมตร จัดอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ เปรียบเทียบได้กับพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่ระเบียงหอพระแก้วเมืองเวียงจันทน์ และพระพุทธรูปที่วัดวิชุล เมืองหลวงพระบาง ซึ่งมีอายุอยู่ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๓


    บเทียบได้กับพระพุทธรูปปางมารวิชัยที่ระเบียงหอพระแก้วเมืองเวียงจันทน์ และพระพุทธรูปที่วัดวิชุล เมืองหลวงพระบาง ซึ่งมีอายุอยู่ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๒ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๓
    ษฐานในพระอุโบสถ องค์พระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย ลงรักปิดทองงดงาม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๒๖๓ กล่าวกันว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามที่สุดในภาคอีสาน ซึ่งจัดอยู่ในพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ ที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูปศิลปะล้านนา ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นหลังจากระยะเวลาดังกล่าวไปเล็กน้อย เนื่องจากมีอิทธิพลของฝีมือช่างท้องถิ่นปรากฏอยู่มากเป็นต้นว่าเค้าพระพักตร์ เปลวรัศมีที่ยืดสูงขึ้นสัดส่วนของพระเพลา และพระบาทซึ่งคล้ายคลึงกับที่ปรากฏอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปไม้ และสำริด ที่สร้างขึ้นระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔
    วัดพระเหลาเทพนิมิตร


    วัดพระเหลาเทพนิมิตรวัดพระเหลาเทพนิมิตร,
    อำนาจเจริญ





     
     
     
    งานสืบสานประเพณีุบุญคูณลาน สืบสานตำนาน ข้าวหอมมะลิ อำนาจเจริญ
     
    วันที่ : 12 - 15 มกราคม 2554
    สถานที่ : หน้าที่ว่าการอำเภอลืออำนาจ จังหวัดอำนาจเจริญ
    กิจกรรม :
    ร่วมสืบสานประเพณีบุญคูณลาน โดยชาวบ้านจะนำข้าวเปลือกมากองเป็น "กุ้มข้าวใหญ่" หรือเจดีย์ข้าว มีการทำพิธีพุทธาภิเษกสมโภช การแสดง-เสียง การสาธิตวิถีชีวิตอีสาน นิทรรศการข้าวหอมเมืองอำนาจเจริญ
    ความหมายของคำว่า "คูณลาน" หมายความว่า เพิ่มเข้า หรือทำให้มากขึ้น ส่วนคำว่า "ลาน" คือ สถานที่สำหรับนวดข้าว การนำข้าวที่นวดแล้วกองขึ้นให้สูง เรียกว่า "คูณลาน" การทำประเพณีบุญคูณลานกำหนดเอาเดือนยี่เป็นเวลาทำ เพราะกำหนดเอาเดือนยี่นี่เองจึงเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าบุญเดือนยี่ ดังบรรพบุรุษได้ผูกกลอนสอนให้ชาวบ้านเตรียมการก่อนทำบุญไว้ว่า

    "เถิงฤดูเดือนยี่มาฮอดแล้วให้นิมนต์พระสงฆ์องค์เจ้ามาตั้งสวดมงคล
    เอาบุญคูณข้าวเข้าป่าหาไม้เห็ดหลัวอย่าได้หลงลืมทิ่มฮีตเก่าคองเดิมเฮาเด้อ"
    หมายความว่า เมื่อถึงฤดูเดือนยี่มาถึงให้นิมนต์พระสงฆ์มาสวดมงคลทำบุญคูณข้าว ให้จัดหาไม้มาไว้ทำฟืนสำหรับใช้ในการหุงต้มประกอบอาหาร อย่าได้หลงลืมประเพณีเก่าแก่แต่เดิมมาของเรา
     
     
     
     
     
     
     
     
    อำนาจเจริญ ตั้งอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ โดยเส้นทางรถยนต์ประมาณ 568 กิโลเมตร มีพื้นที่การปกครองทั้งสิ้น 3,161,248 ตารางกิโลเมตร เริ่มตั้งเป็นเมืองในสมัยรัชกาลที่ 3 แก่งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยขึ้นอยู่กับนครเขมราฐ ต่อมาจึงได้ย้ายมาขึ้นต่อเมืองอุบลราชธานี จนกระทั่งได้รับประกาศจัดตั้งเป็นจังหวัดอำนาจเจริญ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2536
    การเดินทาง
    ทางรถยนต์ ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ถึงจังหวัดสระบุรี จึงเลี้ยวขวาเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) จากนั้นใช้ทางหลวงหมายเลข 226 นครราชสีมา-สุรินทร์ และใช้ทางหลวงหมายเลข 214 สุรินทร์-อำเภอสุวรรณภูมิ แล้วแยกขวาไปตามทางหมายเลข 202 ผ่านจังหวัดยโสธรและอำเภอป่าติ้ว ถึงจังหวัดอำนาจเจริญ รวมระยะทางระมาณ 580 กิโลเมตร หรือสามารถใช้ทางหลวงหมายเลข 1 และหมายเลข 2 จากนั้นใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 226 นครราชสีมา-อุบลราชธานี ถึงอุบลราชธานีแล้วใช้ทางหลวงหมายเลข 212 อุบลราชธานี-อำนาจเจริญ รวมเป็นระยะทางประมาณ 704 กิโลเมตร
    รถโดยสารประจำทาง จากกรุงเทพฯ มีรถโดยสารธรรมดา และรถโดยสารประจำทางปรับอากาศ ออกจากสถานีขนส่งหมอชิต 2 ทุกวัน
    สำหรับผู้โดยสารโดยรถไฟ หรือเครื่องบิน จะต้องลงที่จังหวัดอุบลราชธานี แล้วต่อรถยนต์มาลงที่อำนาจเจริญอีก 75 กิโลเมตร
    ตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข ๒๑๓๔ ห่างจากตัวอำเภอพนาประมาณ ๒ กิโลเมตร พระอุโบสถของวัดมีรูปทรงสถาปัตยกรรมแบบล้านนา มีพระประธานคือ “พระเหลาเทพ-นิมิตร” เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประดิษฐานในพระอุโบสถ องค์พระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย ลงรักปิดทองงดงาม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๒๖๓ กล่าวกันว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามที่สุดในภาคอีสาน ซึ่งจัดอยู่ในพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ ที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูปศิลปะล้านนา ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นหลังจากระยะเวลาดังกล่าวไปเล็กน้อย เนื่องจากมีอิทธิพลของฝีมือช่างท้องถิ่นปรากฏอยู่มากเป็นต้นว่าเค้าพระพักตร์ เปลวรัศมีที่ยืดสูงขึ้นสัดส่วนของพระเพลา และพระบาทซึ่งคล้ายคลึงกับที่ปรากฏอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปไม้ และสำริด ที่สร้างขึ้นระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔
    ตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข ๒๑๓๔ ห่างจากตัวอำเภอพนาป


    มิตร ตั้งอยู่บนทางหลวงหมายเลข ๒๑๓๔ ห่างจากตัวอำเภอพนาประมาณ ๒ กิโลเมตร พระอุโบสถของวัดมีรูปทรงสถาปัตยกรรมแบบล้านนา มีพระประธานคือ “พระเหลาเทพ-นิมิตร” เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมือง ประดิษฐานในพระอุโบสถ องค์พระพุทธรูปประทับขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย ลงรักปิดทองงดงาม สร้างขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๒๖๓ กล่าวกันว่าเป็นพระพุทธรูปที่มีพุทธลักษณะงดงามที่สุดในภาคอีสาน ซึ่งจัดอยู่ในพระพุทธรูปศิลปะลาวสกุลช่างเวียงจันทน์ ที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธรูปศิลปะล้านนา ระหว่างพุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒ สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นหลังจากระยะเวลาดังกล่าวไปเล็กน้อย เนื่องจากมีอิทธิพลของฝีมือช่างท้องถิ่นปรากฏอยู่มากเป็นต้นว่าเค้าพระพักตร์ เปลวรัศมีที่ยืดสูงขึ้นสัดส่วนของพระเพลา และพระบาทซึ่งคล้ายคลึงกับที่ปรากฏอยู่ในกลุ่มพระพุทธรูปไม้ และสำริด ที่สร้างขึ้นระหว่างปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๓ ถึงพุทธศตวรรษที่ ๒๔